PLC
ครูปัศณี เทียบไธสง
นางสาวปัศณี เทียบไธสง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ขั้นตอนที่ 1.รวมกลุ่มครูที่มีปัญหา/ความต้องการ เดียวกัน
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ขั้นตอนที่ 2. ค้นหาปัญหา ความต้องการ
ปัญหาที่กลุ่มเลือก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด และนักเรียนขาดความสนใจในการเรียน
เหตุผลที่เลือก เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการต่อยอดการเรียนรู้ในอนาคต และเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ขั้นตอนที่ 3. ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เลือกมาใช้แก้ปัญหา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning บูรณาการกับ Activity-based Learning สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning บูรณาการกับ Activity-based Learning สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนที่ 5. แลกเปลี่ยนเสนอแนะ
ขั้นตอนที่ 6. นำสู่การปฏิบัติ/สังเกตการณ์สอน
ขั้นตอนที่ 7. สะท้อนผล
ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น เพราะกิจกรรมต่างๆ กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็น กลุ่มและผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ของตนเองในเรื่อง Tense ได้ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ปัญหา / อุปสรรค
ผู้เรียนบางคนอาจกลัวว่าจะใช้ Tense ผิด จึงทำให้ขาดความมั่นใจในการพูดหรือเขียน ซึ่งอาจทำให้ไม่กล้าใช้ภาษาอังกฤษอย่างเต็มที่
สิ่งที่ควรพัฒนาต่อไป
การใช้กิจกรรมหรือแบบฝึกหัดที่เน้นการใช้ Tense ในสถานการณ์จริง
ขั้นตอนที่ 8. รายงานการดำเนินงาน